ภูมิคุ้มกันที่สมดุล กับการดูแล "อัลไซเมอร์" (Alzheimer'S)
(ความจำเสื่อม,สมองเสื่อม,สมองอักเสบ)
วิวัฒนาการล่าสุดของนักวิทยาศาสตร์ไทย เกียวกับการสร้างภูมิคุ้มกัน
คณะนักวิจัย Operation bim "APCO" นำโดย ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา
คณะวิจัย Operation BIM ประกอบด้วย
- รศ.ดร.เสาวบักษณ์ พงษ์ไพจิตร
- รศ.ดร.วิลาวัลย์ มหาบุษราคัม
- ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา
- รศ.ดร.อำไพ ปั้นทอง
- รศ.ดร.ศิริวรรณ องค์ไชย
|
|
ได้ทำการทดสอบสูตร Operation BIM ต่อระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้สามารถอธิบายประสิทธิภาพของสูตรต่างๆ ตามหลักภูมิคุ้มกันวิทยาล่าสุด
ภูมิคุ้มกันที่สมดุลกับการดูแล "อัลไซเมอร์" (Alzheimer'S)
|
apco อัลไซด์เมอร์.jpg
ภูมิคุ้มกันที่สมดุล กับการดูแล อัลไซเมอร์ (Alzheimer'S)
อัลไซเมอร์ เป็นอาการสมองเสื่อม (Dementia) ชนิดหนึ่งที่การทำงานของสมองเสื่อมลง ส่งผลกระทบต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีอาการสมองเสื่อมรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จนไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
อาการเด่น ของอัลไซเมอร์ คือ ความจำเสื่อม หรือ หลงลืม เรื่องที่เกิดขึ้นใหม่ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น ลืมทานยา ลืมปิดเตารีด ลืมชื่อคน หาของใช้ที่วางไว้ไม่พบ พูดหรือถามคำถามซ้ำๆ จำคำตอบไม่ได้ มีปัญหาในการพูดใช้ศัพท์ต่างๆ เพราะคิดคำไม่ออก สติปัญญาและทักษะต่าง ๆ ลดลง มีอาการสับสน หงุดหงิดง่าย และก้าวร้าว อารมณ์แปรปรวน
สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์ มีความผิดปกติของสมองที่ส่งผลโดยตรงต่อการทำงานของสมอง ซึ่งเป็นศูนย์การสื่อสารในการควบคุมความรู้สึกและการตอบสนอง ที่สมองมีการอักเสบและการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท พบกลุ่มแผ่น (Plaque) ที่เกิดจากการรวมตัวของโปรตีนที่ผิดปกติที่ถูกล้อมรอบด้วยเซลล์ประสาทที่เสื่อม (Dystrophic neurites) เรียกว่า Amyloid plaques ที่มีโปรตีน Beta-amyloid protein เป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้พบเส้นใยฝอย (Fibril) ของโปรตีนที่พันรวมตัวกันผิดปกติ เรียกว่า Neurofibrillary tangles
ปัจจุบันมีข้อพิสูจน์ยืนยันทางวิทยาศาสตร์และทางคลินิกว่ามีขบวนการอักเสบเกิดขึ้นและสารอักเสบ cytokies มีบทบาทสำคัญยิ่งในการเกิดโรคอัลไซเมอร์ ได้แก่ IL-1, IL-6 ,IL-17 ,TNF-Alpha และ IFN-Y การทดสอบพบว่าการยังยั้งสารอักเสบ cytokines เหล่านี้ โดยเฉพาะ TNF-Alpha จึงเป็นวิธีการรักษา
โรคอัลไซเมอร์ ที่มีประสิทธิภาพ
คณะนักวิจัย Operation BIM ได้วิจัยและพัฒนาการเสริมประสิทธิภาพจากสารมังคุด งาดำ ถั่วเหลือง ฝรั่ง และบัวบก จนได้แคปซูลเสริมอาหาร ที่พิสูจน์โดยศุนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์ แล้วว่าสามารถลดการหลั่งสาร TNF-Alpha , , IL-6 ,IL-17 ด้วยประสิทธิภาพสูง และได้พัฒนามังคุดที่พิสูจน์โดยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์แล้วว่าสามารถลดการหลั่งสาร IL-1, IL-6 และ IL-17 ด้วยประสิทธิภาพสูง
ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างไร
- หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารเค็มจัด หวานจัด อาหารจานด่วน
- ลดความเสื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
- หมั่นออกกำลังกาย ทำให้เลือดไหลเวียนดี เพิ่มออกซิเจนไปเลี้ยงสมองรวมไปถึงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ จัดการกับความเครียด เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การนั่งสมาธิ
- การทำกิจกรรมที่ให้สมองได้ฝึกคิดเป็นประจำ เช่น อ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนาอักษรไขว้
“การสร้างภูมิคุ้มกันที่สมดุล เป็นมิติใหม่ของการดูแลสุขภาพ"
ผลงานวิจัย คณะวิจัย Operation bim งานวิจัย APCO
ข้อมูลเพิ่มเติม โทร 084 765 1841 ไอดีไลน์ @bim100k
www.bim100-th17.com
คำค้นหา: โรคอัลไซเมอร์,Alzheimer,ความจำเสื่อม,,สมองเสื่อม,อาการอัลไซเมอร์,หลงลืม,หงุดหงิดง่าย,อาการสับสน,จำอะไรไม่ได้,จำเรื่องใหม่ไมได้,สมองอักเสบ,สาเหตุอัลไซเมอร์,งานวิจัยoperation ,apco,ภูมิคุ้มกันที่สมดุล,ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา,ป้องกันโรคอัลไซเมอร์,คณะวิจัย Operation bim
|